หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


rafael

โดยคุณ : bird07 เมื่อวันที่ : 06/03/2010 12:50:00

ทำไม บ. rafael ถึงไม่ประสบความสำเร็จในการจัดหาเครื่องบินใหม่ในหลายๆประเทศทั้งๆที่ บ.มิราจก็ได้สร้างชื่อไว้มากและเทคโนโลยีทางการบินของฝรั่งเศษก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร

ผู้รู้ช่วยหนอยครับ งงงงง..

 





ความคิดเห็นที่ 1


   ราคาแพง + ระบบอาวุธ ใช้ได้แต่ของ ฝรั่งเศส เองอย่างเดียว ที่ใช้ของอเมริกาได้ มี GBU-12 อย่างเดียว

  ส่วน Amraam กับ Sidewinder หรืออาวุธ จากชาติอื่นๆใช้ไม่ได้ครับ

 และอีกส่วนนึง คือ ข้อเสนอ ในการขาย ยังดีไม่เท่า อเมริกา ครับ

 ที่ ราฟาล แพ้ใน โมร็อคโก ก็เพราะว่า ของแถม ที่อเมริกาแถมให้ด้วยครับ

ส่วนที่ สิงคโปร์ กับ เกาหลีใต้ ก็น่าจะเป็นเพราะ การเมือง ระหว่างประเทศละมั๊งครับ

  โอกาสดีที่สุดที่จะขายออก คือ ขายให้ บราซิล กับ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์


 ข่าวล่าสุด คือ ออสเตรเลีย  กำลังลื้อ การพิจารณา การจัดซื้อเครื่องบินขับไล่ ใหม่อยู่ เนื่องจากโครงการ F-35 มันล่าช้า

  และก็ผล วิเคราะห์ จาก DSTO  สงสัยเกี่ยวกับ สมรรถนะของ F-35 ว่ามันดีจริงหรือ

 เลยประกาศ เครื่องบิน ขับไล่ ที่จะ พิจารณา มา 3 แบบ คือ F-35  , F-15E รุ่นที่ทันสมัยที่สุด และก็ RAFALE

 
โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 03/03/2010 05:55:59


ความคิดเห็นที่ 2


RAFALE  ,  ฝรั่งเศส

โดยคุณ Flyman เมื่อวันที่ 03/03/2010 05:58:37


ความคิดเห็นที่ 3


Scientists warned defence department against Joint Strike Fighter

AN internal Defence study warned that the new Joint Strike Fighter would be a high-risk venture for Australia, admitting that the plane had weaknesses, including poor engine thrust that made it difficult to dodge missiles.

The blunt criticisms of the warplane contained in the study by Defence scientists in 2000 have never been aired publicly by the government.

But the Defence Science and Technology Organisation study, obtained by The Australian, was far more critical of the other fighter jet options available to Australia if it did not choose the JSF.

The document uses highly undiplomatic language to trash the performance of the warplanes used by Australias closest allies.

The DSTO study, described as a "first-cut analysis" of Australias future fighter needs, was written two years before the Howard government signed up to the US-led JSF program in 2002, abandoning the tender process and stunning aircraft manufacturers.

Titled "A Preliminary Assessment of Inhabited Platforms for AIR6000" and written by the DSTOs Graeme Murray and David Carr, the study is significant because it is one of only a handful of studies that looked at alternatives to the JSF.

The government plans to buy 100 JSFs for $16 billion in what will be the largest Australian defence purchase in histor


y.

The DSTO report, written at a time when the JSF existed only on paper, said that if Australia signed on to the JSF program, it would be doing so without knowing the planes final capability and costs.

"JSF has present serious shortfalls in engine performance and incomplete sensor-fusion capability," the DSTO said.

"The aircraft lacks engine thrust in the baseline configuration due to the high weight, affecting the use of manoeuvrability to defeat missile attack."

It also warned of hi-tech risks in the program because of tight schedule and cost targets, but it gave the plane strong marks for its stealth, range, payload and its "all weather, 24-hour lethality".

It said the JSF would not be cheaper to acquire than other fighters, but would be cheaper to maintain and service.

The study favours the JSF over other options and is blunt about the shortcomings of Australias other fighter options. It describes the US F-16 used by the US Air Force as having a weak airframe and poor stealth.

"Old airframe lacks agility to outmanoeuvre missiles and has a small internal fuel capacity," the DSTO said of the F-16.

It said Europes Typhoon fighter had limited strike capability and was unreliable.

"Present (strike) capability is lacking due to limited sensors and weapons carrying capability," it said of the Typhoon.

"Low reliability will mean high costs to operate."

It said Swedens Gripen fighter had poor stealth, an underdeveloped electronic warfare system and payload and range limitations.

The DSTO found that the earlier version of the F/A-18E Super Hornet -- not the Block II version that has since been purchased by Australia -- was underpowered, lacked endurance and "risks being shot from behind with a radar-guided missile".

The US F-15E lacked stealth while Frances Rafale had an unreliable and weak engine.

"The F-15E is good now, but not likely to be defensible in the expected electronic warfare environment in the 2010 timeframe," the DSTO said. "Rafale has short-term shortfalls in engine and radar performance."

The DSTO said the F-22 fighter -- the production of which was recently cancelled by US Defence Secretary Robert Gates -- had limited strike capability and was very expensive.

Despite these criticisms, the study recommended narrowing Australias choice of a new fighter jet to only three: the JSF, the American F-15E and the French Rafale.


 Credit :

http://www.theaustralian.com.au/politics/scientists-warned-defence-department-against-joint-strike-fighter/story-e6frgczf-1225834053074

โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 03/03/2010 06:14:34


ความคิดเห็นที่ 4


  จากข้างบน ก็มี F-16 , Typhoon และ Gripen ที่ทาง DSTO นำมาพิจารณาด้วย แต่ถูกตัดออก

  Typhoon ถูกตัดออกเพราะ มีข้อจำกัด ในความสามารถใน การโจมตี และ ขาดความน่าเชื่อถือ ( unreliable )

 reliable แปลได้หลายอย่าง แปลว่าที่วางใจได้ , ที่ไว้ใจได้ , ที่เชื่อถือได้ , น่าเชื่อถือ

 un : เมื่ออยู่หน้าประโยค จะเป็นประโยคเชิง ลบ

 ขอโทษน่ะครับ ที่ต้องแปล เผื่อน้องๆจะไม่เข้าใจ


 Gripen ถูกตัดออกเพราะ  ขาดคุณลักษณะ Stealth

 
มาดูเครื่องที่เข้าข่าย พิจารณา

The US F-15E lacked stealth while Frances Rafale had an unreliable and weak engine


F-15E ขาดคุณสมบัติ Stealth ส่วน Rafale ขาดความน่าเชื่อถือ ( เช่นเดียวกับใต้ฝุ่น ) และ เครื่องยนต์ ในที่นี้น่าจะหมายความว่า เครื่องยนต์ ไม่แรง หรือ แรงขับน้อย

 
 
The F-15E is good now : F-15E น่าจะเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดใน ขณะนี้


"Rafale has short-term shortfalls in engine and radar performance."

 ราฟาล มี พิสัยปฏิบัติการ ที่สั้น และ เรดาร์ ตรวจจับได้ไม่ไกล ( อันนี้แปล งูๆปลาๆ น่ะครับ )


 ส่วน F-22 ก็ถูกตัดออก เพราะ ข้อจำกัดในด้านการโจมตี และ มีราคาแพง


 คงเหลือตัวเลือก เพียง 3 ตัวเลือก คือ F-35 , F-15E และ Rafale




 โดยส่วนตัว ยังคิดว่า ถ้า ฝรั่งเศส เสนอ Rafale รุ่นเดียว กับที่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ต้องการได้ ให้ ออสเตรเลีย อาจจะมีโอกาสครับ

 เพราะ รุ่น ที่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ต้องการคือ Rafale ต้องติด เรดาร์ AESA และ เครื่องยนต์ มีแรงขับ มากกว่า รุ่นที่ใช้อยู่ใน ทอ. และ ทร. ฝรั่งเศส ครับ


   ลองมาติดตามดูครับ ว่า หวย ที่ ออสเตรเลีย ล๊อคเอาไว้ อย่าง F-35 จะมี พลิกหรือเปล่า

 โครงการนี้ น่าติดตามเป็นอย่างยิ่ง


 

 


โดยคุณ TOP SECRET เมื่อวันที่ 03/03/2010 06:43:54


ความคิดเห็นที่ 5


อ่านดู มาประเมินว่า JAS ไม่ล่องหน  ระบบสงครามอิเล็กโทรนิกตกยุค แบกได้น้อย 

แหม พี่ท่านไปชนกับ เครื่อง ใหญ่ ๆ ทั้งนั้นเลย นิครับ
โดยคุณ u3616234 เมื่อวันที่ 03/03/2010 07:26:31


ความคิดเห็นที่ 6


an underdeveloped electronic warfare system 


อันนี้จริงมั้ยครับท่านๆอาจารย์   :(
โดยคุณ smish เมื่อวันที่ 04/03/2010 08:36:52


ความคิดเห็นที่ 7


the study by Defence scientists in 2000 have never been aired publicly by the government

บทความวิเคราะข้างบนเป็นของเมื่อ10ปีก่อนครับ จะมาใช้วิเคราะในปัจจุบันคงเป็นไปไม่ได้เพราะเครื่องบินแต่ละแบบพัฒนาไปมากแล้วในช่วงเวลา10ปีที่ผ่านมา

โดยคุณ Knightwing เมื่อวันที่ 04/03/2010 22:36:21


ความคิดเห็นที่ 8


สาเหตุ มาจาก ที่เติมน้ำมันกลางอากาศ ที่ไม่ยอมเก็บไว้ในลำตัวเครื่องครับ ทำให้ ขัดแย้งความรู้สึก เป็นสาเหตุหนึ่งครับ ที่ผมเชื่อว่า Rafale ขายไม่ออก

โดยคุณ jobnattapong เมื่อวันที่ 06/03/2010 01:50:00