มังกรเหินฟ้าเผยพลังการบิน ณ จูไห่ แอร์โชว์ 2010 | ![]() |
![]() |
|
![]() |
สำหรับ จูไห่ แอร์โชว์ 2010 ครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการโชว์แสนยานุภาพของกองทัพอากาศจีนแล้ว จีนยังเปิดตัวจัมโบ้เจ็ท C919 เครื่องบินโดยสารขนาดใหญ่ลำแรกที่ผลิตในประเทศจีน และทันทีที่เปิดตัว เจ้านกเหล็กยักษ์ดังกล่าวก็มียอดสั่งซื้อแล้ว 100 ลำ นับเป็นการส่งสัญญาณการรุกตลาดอุตสาหกรรมการบินอย่างเข้มข้น พร้อมทาบรัศมีแอร์บัส และโบอิ้ง ที่เป็นสองมหาอำนาจแห่งอุตสาหกรรมการบินมายาวนาน ชมภาพลีลาการบินผาดโผนของทีมกองทัพอากาศจีน (ภาพเอเอฟพี) |
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
||||
|
ทำไมรูปทรง j-10 เหมือน f-16 จังเลยคับ
น่าจะบินมาโชว์ที่เมืองไทยบ้างนะครับ ฝูงบินผาดแผลงประเทศในเอเชียที่เคยบินมาโชว์ที่เมืองจะมีของสิงค์โปร์กับอินเดีย จีนน่าะมาโชว์ศักยภาพบ้าง
เฉิงตู เจ-10 (Chengdu J-10) (歼十, Jiān 10) เป็นเครื่องบินรบรุ่นที่ 4+ ที่ถูกออกแบบโดยอิสราเอล (IAI Lavi) พัฒนาโดยรัสเซีย (Sib NIA) และสร้างโดยประเทศจีน โดยโรงงานสร้างอากาศยานเฉิงตูแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เจ-10 เป็นเครื่องบินที่ถูกออกแบบมาให้ใช้ประโยชน์ได้หลากหลายทั้งด้านเครื่องบิน ขับไล่ และสามารถทำภารกิจทิ้งระเบิดขนาดเบาได้อีกด้วย
รุ่นแรกๆของ J-10 นั้น ใช้เครื่องยนต์ไอพ่นเทอร์โบแฟนของรัสเซีย Lyulka-Saturn AL-31FN ในอนาคตนั้น ทางประเทศจีนมีโครงการติดตั้งเครื่องยนต์ในประเทศ WS-10A (WoShan-10A) Taihang ซึ่งสร้างขึ้นโดยการลอกแบบและดัดแปลงเครื่องยนต์รุ่นเก่าของรัสเซีย แต่จนปัจจุบัน (พศ.2552) ก็ยังพัฒนาไม่สำเร็จ ทั้งๆที่ล่าช้ากว่าแผนงานมาหลายปีแล้ว ทำให้ยังต้องพึ่งพาเครื่องยนต์จากรัสเซียอยู่ต่อไป
สมรรถนะของเครื่องบินรบแบบ J-10 ที่ติดตั้งเครื่องยนต์รัสเซียนั้น เทียบได้กับ Jas-39 ของสวีเดน แต่มีราคาถูกกว่า
http://en.wikipedia.org/wiki/Chengdu_J-10
http://en.wikipedia.org/wiki/IAI_Lavi
Lavi | |
---|---|
Lavi B-2 prototype | |
Role | Multirole fighter |
Manufacturer | Israeli Aircraft Industries |
First flight | 31 December 1986 |
Status | Cancelled 30 August 1987 |
Number built | 2 prototypes (5 planned) |
The IAI Lavi (Hebrew: לביא, "Lion-cub") was a combat aircraft developed in Israel in the 1980s. It was a multi-billion dollar fighter aircraft project that was disbanded when the Israeli government concluded it could not finance production on its own, could not achieve a consensus on the Lavis cost-effectiveness and received political pressure from the US government to cancel a fighter that would compete with American exports. Only two of the Lavi prototypes remain — one is on display at the Israeli Air Force (IAF) museum and the other (the Lavi TD, technology demonstrator) can still be found at the IAI facilities at the Ben Gurion airport.
ครับ อิสราเอล เอา f 16 มาเป็นต้นแบบ แต่อเมริกาไม่ต้องการให้เครื่องบินลาวีมาเป็นคู่แข่งจีงบีบให้ อิสราเอลยกเลิกครับ