BANGKOK, Nov 27 -- A high-speed train project, a planned joint investment project between Thailand and China, which will link between the Thai capital and Nong Khai province bordering Laos is expected to be completed in late 2015, said Supoj Saplom, permanent secretary for Thai Transport Ministry.
Mr Supoj said after a meeting of the working committee on Friday that the meeting had discussed on preparing a draft of memorandum of understanding (MoU) on the joint venture project. The draft is expected to be ready in early January next year and forward to the cabinet for its consideration later the same month before it is submitted to the parliament for its consideration and approval in February.
The parliamentary process is expected to be completed in March while construction could start in 2011 and furnished in late 2015, Mr Supoj said.
Initially, the Beijing investment on the project between the two countries will be on a 50-50 per cent basis while the Thai finance ministry is responsible on investment details of the project.
Two more senior Thai officials -- one from Finance Ministry and the other from Foreign Affairs Ministry -- have been appointed to join the working committee as the entire process involves a joint investment between the two countries.
Distance between Bangkok and Nong Khai is about 640 kilometres. Previously, the scheme involved on constructing a high-speed train with dual rail track at construction costs estimated at Bt180 billion. But the costs could be lower between 20-30 per cent after the system is switched to a standard gate high-speed train system. Upon completion, the rail system could lower goods transportation costs as well as boosting tourism between Thailand and Laos.
Thailands joint parliamentary meeting on Oct 26 has approved a proposed draft framework of Thailand-China negotiations to construct a high-speed train system in Thailand.
Thai Prime Minister Abhisit Vejjajiva met his Chinese counterpart Wen Jiabao on Nov 12 and the latter agreed to speed up negotiations to construct a high-speed train system in Thailand.
The Chinese premier said the discussion should begin with the details of the routes and format of joint investment, according to Mr Abhisit. (MCOT online news)
ขอขอบคุณ สำนักข่าวไทย ช่องเก้าครับ
มาวิจารณ์ต่อ ผมว่าถ้าจะให้เกิดจริงๆ นี่มันลำบากนาครับ ลงทุนมหาศาลอีกอย่าง คนบริหารจะมีหนี้สินบานเบอะหรือเปล่านี่สิ
รัฐบาลก้ต้องมาบริหารเองอีกต่างหาก รับหนี้ไปด้วย
ประเทศที่เจริญแล้วส่วนใหญ่เขาก็มีใช้กันนะ ก่อนจะทำเขาคิดแล้วว่ามันมีผลได้มากกว่าเสีย ถ้ากลัวนั่นกลัวนี่แนะนำให้ขึ้นเขาไปขุดเผือกขุดมันกินดีกว่า ปล่อยประเทศไทยพัฒนาเถอะครับ
ข้างบนเป็นรถไฟหลักๆทั่วไปที่ใช้กันอยู่นะครับ ไม่ใช่ตัวความเร็วสูงที่เป็นข่าว ดูเอาก็น่าจะเข้าใจว่าแค่นี้ก็ทันสมัยขนาดใหนแล้ว
อีกอย่างประเทศแค่แมวดิ้นตาย จากเหนือจรดใต้ขับรถเองแค่สองถึงสามชั่วโมงก้ถึง มันก็เป็นเช่นนี้แล
ปล.นิดนึง รูปทั้งหมดผมเป็นคนถ่ายเอง
ประเทศเรานี่แปลกใครจะทำอะไรที่มันเจริญเป็นอันต้องคิดขวางไว้ก่อน
ขีดเส้นใต้เลยนะครับ ทุกรัฐบาล ไม่ว่าจะเป็น สนามบินสุวรรณภูมิ ท่อก๊าซไทยมาเลเซีย โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และล่าสุดรถไฟความเร็วสูง
พอเห็นข้างบ้านเขามีบ้างก็ออกมาว่าเขาอีก ทำไมไม่มีทำไมไม่ทำทำไมเขาทำได้
รถไฟรางคู่เขาก็จะพัฒนาครับพัฒนาเป็นตัวแรกด้วยละมั้งครับ ส่วนรถไฟความเร็วสูงเป็นโครงการความร่วมมือกับจีนครับรัฐบาลไม่ได้ออกเงินเองทั้งหมด
ที่เขาคิดจะทำเพราะเขาต้องการจะเชื่อมต่อจากจีนไปถึงสิงคโปร์โดยมีประเทศเราเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค
*ส่วนเรื่องพัฒนาแหล่งป้องกันน้ำท่วมเขาก็มีโครงการและงบประมาณทุกรัฐบาลนิครับ*
ในถานะที่อยู่ไต้หวันมาจะเก้าปีแล้ว เหตุที่รถไฟความเร็วสูงที่นี่จะเจ็งก็เพราะว่า ที่นี่มีรถไฟด่วนความเร็วสูงใช้อยู่มานานแล้ว
จึงไม่แปลกใจเลยที่รถไฟใหม่ที่สร้างมาจะไม่เป็นที่นิยม
๑. สถานี สถานีมีจำกัดแถมต้องนั้งรถไฟหวานเย็นต่อไปใกลกว่าจะได้ขึ้น( ผมอยู่ภาคกลาง จางฮั้ว ต้องนั้งรถไฟไปซีนอู๋ลื่อ ส่วนไทจงก็ต้องนั้งรถไฟถ่อกลับมาอีก)
๒. รถไฟหลักที่ใช้กันอยู่จะมีสามแบบ คือ รถหวานเย็น (รถประจำทางจอดทุกสถานี) รถด่วนกลาง(รถด่วนหัวลากเก่า จะจอดเฉพาะสถานีใหญ่ๆ) รถด่วนหัวแหลม(จะจอดเฉพาะสถานี เมืองหลักๆเท่านั้น)
แล้วใครมันจะอยากลำบากถาอไปขึ้นให้วุ่นวายหล่ะขอรับ (ผมก็ใช้รถไฟบ่อยอันนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ)
รัฐบาลไต้หวันจะเทคโอเวอร์รถไฟความเร็วสูงที่เปิดได้ไม่ถึง 3 ปี ไทเป 20 ก.ย.- หนังสือพิมพ์ไชน่าไทมส์รายงานว่า รัฐบาลไต้หวันจะแต่งตั้งตัวแทนเข้าดูแลกิจการบริษัทรถไฟความเร็วสูงที่มีหนี้สินรุงรังทั้งที่เปิดให้บริการได้ไม่ถึง 3 ปี รายงานระบุว่า รัฐบาลจะแต่งตั้งนายอู ชินเต๋อ กรรมการบริหารบรรษัทรถไฟความเร็งสูงไต้หวัน เป็นตัวแทนรัฐบาลทำหน้าที่ประธานบรรษัทแทนนายนิตา อึง หากข่าวนี้ได้รับการยืนยันถือเป็นความล้มเหลวของโครงการที่ลงทุน ดำเนินการแล้วโอนให้รัฐโครงการใหญ่ที่สุดในไต้หวัน เป็นโครงการก่อสร้างทางรถไฟเชื่อมกรุงไทเปกับเมืองเกาสง ใช้เทคโนโลยีรถไฟหัวกระสุนของญี่ปุ่น กำหนดเปิดใช้ 35 ปีแล้วโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่รัฐ รัฐบาลคาดหวังไว้สูงว่า โครงการนี้จะก่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจแต่กลายเป็นว่าบรรษัทขาดทุนมหาศาล มีหนี้สิน 70,200 ล้านดอลลาร์ไต้หวัน (ราว 73,000 ล้านบาท) เมื่อถึงสิ้นเดือนมิถุนายน และกำลังขอสินเชื่อใหม่ 80,000 ล้านดอลลาร์ไต้หวัน (ราว 83,200 ล้านบาท) เพื่อให้อยู่รอด ข่าวระบุว่า ธนาคารยังลังเลใจที่จะปล่อยสินเชื่อใหม่ แต่รัฐบาลจะค้ำประกันให้ทันทีที่ตัวแทนได้ดำรงตำแหน่งประธาน โครงการนี้มีทุนจดทะเบียน 105,300 ล้านดอลลาร์ไต้หวัน (ราว 109,512 ล้านบาท).- สำนักข่าวไทย http://news.mcot.net/international/inside.php?value=bmlkPTExNjQwOCZudHlwZT10ZXh0 |
ขอขอบคุณอีกรอบ สำนักข่าวไทย
ขณะที่รัฐบาลไต้หวันต้องเข้าไปอุ้มหนี้มหาศาล ซึ่งเปนเรื่องที่น่ากลัวสำหรับอนาคตของไทยที่จะมีโครงการนี้
เพราะไต้หวันถือว่ามีค่าครองชีพที่ดีติดอันดับโลก มีเงินทุนสำรองที่เยอะมากติดหนึ่งในสิบของโลก
รายได้ของประชากรก็ดีมีเยอะ ระดับเศรษฐกิจดีมาก พอๆกับ ญี่ปุ่นก็ว่าได้
แต่ทำไมทำไม รถไฟฟ้าความเร็วสูงเขาถึงขาดทุน บานเบอะ
ถ้าอนาคตรัฐบาลไทยได้ลงทุนโครงการนี้จริงๆคงได้เห็นอนาคตอันสดใส(หรือเปล่า) !? เปนแบบนี้แน่นอนผมว่า
อยากจะแชร์ความเห็นครับ เพราะมันเกี่ยวเนื่องกับความมั่นคง
ผมพอเห็นละกระทู้เก่าๆก็มีเกี่ยวกับเรื่องรถไฟความเร็วสูงแต่ว่า ก็มีข้อมูลอัพเดตมาเรือ่ยๆ ไม่รู้จะขายฝันหรือเปล่านี่สิ
ผมว่างบประมาณบานตะไทขนาดนี้เอาไปพัฒนาแหล่งนี้ำป้องกันน้ำท่วมทั้งประเทศได้เลยนะครับเนี่ย
ประชากรคนไทย ร้อยละ 60 ทำไร่ ทำนา ทำสวน ถ้าเขาได้น้ำ ได้แลห่งชลประทานที่ดี ชีวิตเขาก็ดี รายได้ไหลมาเทครัว
หนำซ้ำยังได้ เพิ่มแหล่งท่องเที่ยวอีกต่างหาก สำหรับอ่างเก็บน้ำหรือเขื่อน ถ้าทำกันดีๆ สร้างเครือข่ายแหล่งน้ำตามที่คิดกันไว้
อีกทั้งเวลาจะทำประชาพิจารณ์กัน ประชาชนก็มีส่วนได้เสียเยอะมาก ครับ ดีกว่า รถไฟฟ้าความเร็วสูง เส้นทางเดียวหย่อมเดี่ยว คนขึ้น ค่าโดยสารก็แพงหูดับตับไหม้
ไมไ่ด้อะไรเลย เผลอๆก็เจ๊งอีก น่าเบื่อครับ หรือสมาชิกในเวปมีความเห็นไงบ้างครับ ผมว่าอย่ามีดีกว่ารถไไฟ้าความเร็วสูง
เอางบประมาณไปพัฒนารถไฟรางคู่ ดีกว่าเยอะครับ
ประเทศไทยจำเป็นแค่ไหนกับความเร็วระดับ 250 km/h ?
http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=944672&page=115
เรื่องรถไฟความเร็วสูง ของไทย ลองเข้าไปอ่านที่ลิงค์ข้างบนดู เขาเถียงกันจนได้ข้อสรุปหมดแล้ว ลองอ่านตั้งแต่หน้าแรก จนหน้าสุดท้าย ก็จะเข้าใจทั้งหมด
ว่าทำไม รัฐบาลไต้หวันจึงขาดทุน ทำไมเส้นทางของไทย ลงไปสิงคโปร์ ใครๆก็อยากมาร่วมลงทุน ลิงค์ข้างบนที่ให้ เป็นลิงค์ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับรถไฟความเร็วสูง ที่ดีที่สุดของเมืองไทยแล้ว ในนั้นรวมผู้รู้เกี่ยวกับรถไฟ นักข่าวก้เอาขอมูลในเว๊ปนี้ไปประกอบการเขียนข่าว ขนาดรัฐมณตรี รองนายก ยังแอบเข้ามาเก็บข้อมูล เพราะเคยเห้นลิงในเฟสบุค
เรื่องความมั่นคงก็มีการถกกันพอสมควร มีการตั้งคำถามว่า จีนต้งการอะไรจากเส้นทางรถไฟนี้
พลังงานที่สูญเสียบนท้องถนน ที่ติดไฟแดง เวลาติดต่อประสานงานเสียไปบนท้องถนน
การขนส่งที่ตอบสนองเวลาได้ จะประหยัดมหาศาล(เครื่องบินจำกัดน้ำหนัก ราคาสูง)
เหล่านี้ ช่วยได้ และหนองคายก็เป็นจุดเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ขนส่งสินค้าจะดีมาก
ถ้าจุดพักสินค้าจากจีนมาอยู่ที่ลาวก็สะดวกจากไทยไปจีนก็สะดวก ไม่รู้มันจะเกิดได้หรือเปล่า
คิดถึงคนจมูกชมพู่จัง ไม่น่าเลย....
http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=944672
ลิงค์นี้เป็นลิงค์ของหน้าแรก ทั้หมดมี 115 หน้า และจะเพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ
จริงๆนะ เรื่องนี้ มันก็น่าเบื่อ หล่ะครับ
ความจำเป็นพื้นฐาน กับ ความจำเป็นเพื่อการแข่งขัน
ไม่ว่างทางเศรษฐกิจ ทางเทคโนฯ หรือพลังอำนาจความเจริญก้าวหน้า ฯลฯ
ก่อนจะคุยกันเรื่องนี้ รถไฟที่จำเป็นจริงๆ ณ ตอนนี้ ที่มันรอมานานหลายสิบปี
รถไฟรางคู่ นะครับ อันนี้สิครับ รถไฟที่จำเป็นจริงๆ ณเวลานี้ ก่อนที่จะสร้างความเร็วสูง
ผมยังมองไม่เห็น ว่า ประเทศไทย ณ ขณะนี้ จะสามารถทำให้ต้นทุน ต่ำที่จะเพียงพอต่อการชักชวนให้
เอกชนใช้ในการขนส่ง สินค้าด้วยรถไฟความเร็วสูง เมื่อเทียบกับ รถไฟ
ธรรมดา ที่ใช้รางที่ สอง (รถไฟรางคู่) นะครับ
ขอบคุณสำหรับลิ้งที่ให้มาดูกันครับ กระจ่างมากมาย
ส่วนที่ว่า รถไฟรางคู่น่าปรับปรุง ผมว่ามันก็จริงเพราะเปน หัวใจสำคัญสำหรับการขนส่ง เพราะต้นทุนขนส่งของไทยเมื่อเทียบกับ จีดีพีของไำทย คือ
ร้อยละ 25 ซึ่งมากพอตัว เมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนด้วยกัน ถ้ารถไฟรางคู่กำเนิดขึ้นอย่างน้อยที่สุดก็สามารถทำให้การขนส่งสินค้่า มีตัวเลือกมาขึ้น
ส่วนจะราคาถูกหรือไม่ ต้องลองคำณวนกันเอาเอง เพราะการขนส่งทางรถยนต์มันดีตรงที่ door to door ถึงเลย
คุณpop04 ครับ ที่คุณกล่าวมาทั้งหมดนั้น ผมเห็นด้วยอย่างมากครับ เพราะผมเคยขึ้นรถไฟบ้านเรามาก็เยอะมากและรถไปขึ้นรถไฟของจีน ดูมันช่างแตกต่างและอับอายยังไงไม่รู้ว่า เราตกยุคมากๆ กับคำกระแทกแดกดันล้อเลียนรถไฟไทย "ถึงก็ช่างไม่ถึงก็ช่าง" มันน่าจะเลิกไปเสียที คนไทยที่ต้องเดินทางจากบ้านไกลๆเขายังขึ้นรถไฟและต้องการรถไฟที่ทันสมัยครับ อยากให้หดไปเสียที กับการที่ต้องนั่งรถไฟเย็นของต้นทางไปถึงตอนบ่ายของอีกวันที่ปลายทาง ซื้อกระดาษหนังสือพิมพ์ปูนอนกันตลอดทางเพราะที่นั่งมันแสนแข็งและเมื่อย เมื่อยมากๆยันขาไปที่ที่นั่งของคนตรงข้ามเล่นมองกันตาเขียว อยากลงไปนั่งกับพื้นก็มีใครไม่รู้มาคุดคู้อยู่ใต้หว่างขาแล้ว มีตังค์โน่นก็ไปนั่นตู้นอนหรือขี้หมูขี้หมาก็ชั้นสอง นั่งรถดีเซลลางด่วนพิเศษปรับอากาศดูดีหน่อยก็ยังเล่นซะข้ามคืน ใจถึงบ้านไปตั้งนานแล้วแต่ตัวยังไม่ถึงครึ่งทาง ให้มันรู้ไปว่ามีแล้วไม่มีใครขึ้น
ไม่ต้องด่วนแหกนรกเหมือนของจีนหรอกครับ แค่เอาไอ้หน้ายิ้มที่วิ่งไปสุวรรณภูมิลงมาวิ่งข้างล่างแล้วแว๊นไปทั่วประเทศก็ปลื้มแล้ว 160 km/h
น่าจะอยู่ในข่ายที่คนไทยจ่ายค่าตั๋วไหว
สนับสนุนให้ทำครับเคยนังตอนปี42 ด่วนพอรับได้ แต่พอมานั่งดีเชลรางจาก กทม.มาอุบลเข็ดเลยครับถึงหมอก่อนถึงบ้านครับ
อยากถามแค่ว่า เอางบมากพัฒนา กฟท ให้ดีกว่านี่ดีกว่าไหม
ผมคนหนึงหละที่ชอบท่องเที่ยว รถไฟสายหนองคาย-กรุงเทพ ขบวน 136 134 ขึ้นประจำ
10 ปีเเล้วเป็นอย่างไร 10 ปีนี้ เเย่กว่า 10 เท่า
เอาแค่พัฒนาห้องน้ำ ห้องโดยสาร ที่นั่ง อะไรอีกแลวแต่จะคิด ดีกว่าไหม แล้วทำรางคู่
ที่สำคัญ ให้มันตรงเวลา แค่นี้กฟท ก็มีคนขึ้นมากเเล้ว
ที่อินเดีย เขาแค่ให้รถไฟเข้าออกตรงเวลา จากที่เคยขาดทุนมาตลอด แค่ 3 ปี ก็ได้ทุนคืนแล้วครับ
ไม่ต้องมาเฮ่อ บ้าบออารายหรอก ผมแค่จะพูดว่า ถ้าจะขึ้น
ขรถไฟความเร็วสูง นั่งเครื่องไปดีก่าหรอ
เพราะว่าคิดเเล้วรอเเค่น่าจะเเพงกว่ากันไม่มาก
ของเก่ายังไม่พัฒนา แล้วจะบ้าไปทำใหม่เพื่ออะไรครับ ฝากเป็นคำถาม
ขอษเรื่องภาษา ขออภัยจริงๆ
ของเก่าเขากำลังจะพัฒนาครับภายใต้โครงการไทยเข้มแข็งเป็นโครงการต้นๆเลยละครับ เขาคงไม่พัฒนาแค่รางคู่หรอกครับตัวรถก็คงต้องพัฒนาครับ อย่างลืมนะครับ คำว่าระบบรถไฟรางคู่ ไม่ใช่พัฒนารางคู่ให้รถไฟ
ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับรถไฟไทยถ้าจะให้พัฒนานะครับต้องให้เอกชนเข้ามาลงทุนเหมือน บขส แต่ติดตรงพวกพนักงานกับผู้บริหาร กฟท ครับ ซึ่งเคยมีคนคิดจะทำมาแล้วตั้งแต่พี่แม้วมาจนถึงรัฐบาลนี้ก็ยังทำไม่ได้เพราะคิดจะทำเมื่อไรรถไฟดันไม่มีคนขับ พากันป่วยเสียหมดพร้อมๆกัน
แต่โครงการรถไฟความเร็วสูงมันเป็นแค่โครงการครับ และถ้าสร้างมันจะมีผลกับการท่องเที่ยว GDP การเข้ามาลงทุนของต่างประเทศครับ ที่ผมบอกแล้วไงครับ ว่าเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคครับ
จริงๆแล้วเราสามารถพัฒนาการรถไฟไปได้อีกไกล ดูอย่างประเทศเวียดนามเขาใช้ระบบราง 2 แบบคือ 1 เมตรและ 1.435 เมตร ซึ่งแบบหลังให้ความเร็วของรถไฟได้สูงกว่าโดยรางาถไฟของเวียดนามมีทั้งหมด 3 ราง จริงๆแล้วเคยสอบถามเจ้าหน้าที่หัวหน้าสถานีรถไฟเล่าให้ฟังว่า ตอนนี้รถไฟไทยกำลังศึกษาการทำรางขนานไปกับรางเก่าอยู่และก็มีการเพิ่มรางด้านข้างแบบเวียดนามอยู่ เขาให้ทัศนะว่าในอนามคตการรถไฟจะพัฒนามากกว่านี้ถ้ามีการแปรรูปให้เอกชนทำ
สนับสนุนอย่างเต็มทีครับ...แล้วค่าโดยสาร แพงป่าว เท่าไหร่ เท่ากับค่าเครื่องบินไหม ครับ ....ขอแบบ เช้าไปทำงานที่ กรุงเทพ เย็นกลับบ้านหนองคาย ว้าว...สุดยอด