แล้ว แล้ว 2รุ่น นี้ อันไหนใหม่ กว่ากันครับ ไฮเทคกว่ากัน ยิงดีกว่า แม่น
พอฟัด พอเหวี่ยง ทั้งคู่ ครับ รถรานี่ ถ้าเรารัก เราพอใจ มันก็จบ หัวใจสูงสุด อยู่ที่ "บริการหลังขาย" มากกว่าครับ
Type | Main battle tank |
---|---|
Place of origin | ![]() |
Service history | |
Used by | See Operators |
Production history | |
Designer | Kartsev-Venediktov |
Manufacturer | Uralvagonzavod |
Unit cost | $2.77 - 4.15 million USD in 2011 (varies by source)[1] |
Produced | 1995–present |
Specifications | |
Weight | 46.5 tonnes (45.8 LT; 51.3 ST) |
Length | 9.53 m (31 ft 3 in) |
Width | 3.78 m (12 ft 5 in) |
Height | 2.22 m (7 ft 3 in) |
Crew | 3 |
|
|
Armor | Steel-composite-reactive blend
vs APFSDS: 550 mm + 250-280mm with Kontakt-5 = 800-830mm; vs HEAT: 650 mm + 500-700mm with Kontakt-5 = 1,150-1,350mm [2] |
Primary armament |
125 mm smoothbore gun with ATGM capability; mainly 9M119 Svir |
Secondary armament |
7.62 mm coaxial machine gun, 12.7 mm anti-aircraft machine gun |
Engine | Model 84 V-84 12-cyl. diesel[3] V-92 12-cyl. diesel[3] |
Power/weight | 18.1 hp/tonne (13.5 kW/tonne) for V-84 12-cyl. diesel engine 20.4 hp/tonne (15.8 kW/tonne) for V-92 12-cyl. diesel engine |
Suspension | torsion bar |
Operational range |
550–650 km (340–400 mi) (depending on type of engine) |
Speed | 60–65 km/h (37–40 mph) (depending on type of engine) |
Type | Main battle tank |
---|---|
Place of origin | ![]() |
Service history | |
In service | 1999–present |
Used by | Ukraine |
Production history | |
Designer | KMDB |
Designed | 1993–94 |
Manufacturer | Malyshev Factory |
Produced | 1994–present |
Specifications (T-80[1]) | |
Weight | 46 tonnes |
Length | 7.086 m (23 ft 3 in) |
Width | 3.775 m (12 ft 5 in) |
Height | 2.215 m (7 ft 3 in) |
Crew | 3 |
|
|
Elevation | +13°, -6° |
|
|
Armour | Steel, composite, ERA |
Primary armament |
KBA-3 125 mm smoothbore gun (43 rds) |
Secondary armament |
7.62 mm KT-7.62 coaxial machine gun 12.7 mm KT-12.7 anti-aircraft machine gun |
Engine | KMDB 6TD-2 6-cylinder diesel 1,200 hp (890 kW) |
Power/weight | 26 hp/tonne |
Suspension | Torsion-bars, hydraulic dampers |
Ground clearance | 0.515 m (1 ft 8.3 in) |
Fuel capacity | 1,300 l (290 imp gal; 340 US gal) |
Operational range |
540 km (340 mi) |
Speed | 65 km/h (40 mph) - 70 km/h (43 mph) |
ที่มา: wikipedia.org
ดูจาก spec แล้วรอผู้รู้มาลงรายละเอียดอีกทีน่ะครับ
(รูปมีขนาดใหญ่ไป ขอโทษด้วยน่ะครับ)
T-90 ผมว่า เกราะหนากว่า T-84 Oplot นะ
ดูจากตรงไหน ว่า ที90 หนากว่าครับ
ที84 ท่าดูจากรูปร่าง แล้วถึกกว่าเกราะเยอะกว่าทไห้อืด ไปหน่อยแต่เร็วกว่ารถถัง ค่ายยุโรป ความแม่น ไม่ต้องพูดถึงt80 มาเอง แต่โดย ส่วนตัวสู้ไม่ได้ครับเพราะเขาเน้นจำนวน555555 อยู่ที่ใครมองเห็นใครและชัยภูมิดีกว่าย่อมมีชัย ชนะ โดยเฉพาะที90เกราะ บางกว่าเรา แต่มันเร็วกว่า แล้วเราจะไปบวกกะเขาทำไมหละครับ
T-90 ดูจากคลิปใน youtube แล้ว มีของแต่งเพียบ ไม่ว่าแผ่นเกราะเสริมที่กัน RPG หรือระบบที่ยิง ลูกเหล็กป้องกันเวลาโดนยิง
เห็นรถถังรัสเซีย ติดตั้งเพียบ เกราะเสริมนี่ ยิ่งข่าวตอนเคลื่อนรถเข้าจอเจีย นี่ชัดเจน ใส่เกราะเสริมทุกคัน
แต่จากในคลิป เวลาซิ่งโชว์ ผมว่า T-90 ชนะนะ โดนเนินแบบไม่หวั่นว่าช่วงล่างจะพัง
แต่ที่หาคลิปดูไม่เห็นคือ เอา RPG 29 มายิงใส่ T-90 ฟลูออฟชั่น ว่า ใครที่แน่ตัวจริง
^ ^ ลูกเหล็กป้องกันรถถังของรัสเซียเรียก Arena APS (ไม่ได้มีไว้ขาย) ของยิวเรียก Trophy หากเล่นเกมส์สงครามอย่าง COD:MW2 ก็เจอพวกนี้แล้ว ระบบนี้แปลกเมกายังไม่มี คงคิดว่าใช้งานไม่ได้ผลมั้ง แต่ในจอเจียร์ รัสเซียก็เอาไปใช้งานแล้ว ผลก็รู้ๆอยู่
เคยดูในช่องสำรวจโลกเค้าบอกว่าแผ่นเกราะเสริม เค้าเรียกว่า เกราะอีร่า(ERA: Exprosive Reaction Armed) หรือชื่อภาษาไทยว่า เกราะเสริมปฏิกิริยาต่อต้านด้วยแรงระเบิด เกราะนี้เมื่อระเบิดออกจะเป็นอันตรายต่อทหารราบที่อยู่รอบข้างครับ ไม่รู้เป็นเพราะสาเหตุนี้รึปล่าวอเมริกาเลยไม่ยอมใช้
ข้อมูลบางส่วนจากเวบนี้ครับ
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=skyman&month=01-10-2006&group=1&blog=1
ถึงคุณ agachart ครับ "แต่ในจอเจียร์ รัสเซียก็เอาไปใช้งานแล้ว ผลก็รู้ๆอยู่" ผลเป็นไงเหรอครับช่วยบอกที อยากรู้ครับ
อยากรู้เหมือนกันครับ
ถึงคุณ agachart ครับ "แต่ในจอเจียร์ รัสเซียก็เอาไปใช้งานแล้ว ผลก็รู้ๆอยู่" ผลเป็นไงเหรอครับช่วยบอกที อยากรู้เหมือนกันครับ ไม่ทราบจริงๆ
เกราะ ERA ยังไม่ใช่ซะทีเดียวครับ เท่าที่อ่าน แต่สะเก็ตระเบิด โดนพลตรวจการแน่
ถ้าต้องใช้หากล้องตรวจการ สำรอง ไว้แล้วหลบไปนั่งในห้องภายในตัวรถดีกว่า
มันจะต้องมีเรดาห์/เชนเชอร์ ที่ไวมากพอ ในการตรวจจับ หัวกระสุน
เจาะเกราะ ทั้งจากรถถังเอง RPG ,หรือ นำวิถี Kornet E/ Javalin ect.
แล้วจะส่ง ระเบิดที่มีสะเก็ต ไปทำลายหัวกระสุน เจาะเกราะที่เข้ามาทำลายรถถัง
วิธีนี้แรกเริ่มของรัสเซีย เรียก Arena APS แต่หลังๆ ยิว(อิสราเอล) ก็มีเหมือนกัน
คงหมดปัญญาหาเกราะแล้ว ยังไงก็โดนสอย เอาเป็นใช้แบบ APS นี่แหละ
แต่ต่างจากรัสเชีย ตรงที่เป็นหัวกระสุนเล็ก ทำงานร่วมกับเซนเซอร์ ไวพอให้
ระบบรับข้อมูลจากเซนเซอร์แล้วสั่งให้ยิง RPG ที่เข้าามาเสียหายก่อนจะชนตัวรถถัง
http://www.youtube.com/watch?v=VyhiHabmpOg&feature=related
K-2 ยังมีเลยครับ ทั้ง Hard kill/Soft kill
http://www.strategypage.com/htmw/htarm/articles/20110330.aspx
อ่านที่มาที่ไปครับ และแน่นอน M1A3 ก็ติด Iron Fist APS แล้ว ถังรุ่นใหม่ใครไม่มีมาให้
นิไม่รู้ว่าจะมองไว้จัดหามาใช้งานทำไม
^
^
ใช่ครับ เกาหลีใต้เขาโม้ (แต่ก็จริง) ของเขาดีกว่า type 99 หรือ type 10 ในเอเชียด้วยกัน
หรือดีทีสุดในโลก ก็ว่าได้เพราะฟูลออบชั่นจริงๆ มีทุกสิ่งที่รถถังสมัยใหม่ ต้องมีและมากกว่า
ยิ่งได้บริษัท ซัมซุง เจ้าแห่งไม่โครอิเล็กทรอนิก ช่วยทำให้ระบบไฟฟ้า อื่นๆ ก้าวหน้า
มากกว่าชาติอื่นๆ