หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


อิหร่านประสบความสำเร็จในการส่งดาวเทียมที่สร้างเองเข้าสู่วงโคจร(LEO)เป็นครั้งที่ 2

โดยคุณ : Banyat เมื่อวันที่ : 17/06/2011 02:11:27

 

The Islamic Republic of Iran successfully launches its second satellite christened Rassad (Observation) into the earths orbit.


The satellite, which is the countrys first such imaging device, was launched by the Safir-e-Rassad satellite carrier on Wednesday thanks to Iranian aerospace scientists and experts endeavor, IRNA reported.

Despite its 15.3-kilogram weight, which puts it under the category of the micro-satellites, Rassad has all features of a big satellite.

It has undergone all the stages required for its designing, manufacturing, assembly, test and preparation for launch inside the country.

It will orbit the earth at an altitude of 260 kilometers 15 times every 24 hours.

Its mission is to take images of the earths surface and relay them to the earth-based stations together with telemetric information.

The satellite is equipped with solar panels and uses solar energy to work.

Iran launched its first domestically-produced satellite Omid (Hope) in 2009, which made it the ninth country to develop satellite launch capability.

Tehran also plans to launch the countrys first manned mission to space by 2019.

อิหร่านประสบความสำเร็จในการส่งดาวเทียมที่สร้างเองเข้าสู่วงโคจร(LEO)เป็นครั้งที่ 2
ดาวเทียมดวงนี้ชื่อ "ราซัด" มีนำหนักประมาณ 15.3 กิโลกรัม จัดอยู่ในระดับดาวเทียมขนาดเล็ก
ราซัดถูกส่งเข้าสู่วงโคจร LEO ที่ความสูง 260 กิโลเมตรโคจรรอบโลก 15 รอบต่อวัน
(สถานีอวกาศนานาชาติ ISS 18 รอบต่อวัน)

ทำให้อิหร่านเป็น 1 ใน 9 ประเทศที่สร้างและส่งดาวเทียมได้ด้วยตัวเอง
หลังจากที่เคยส่งดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรครั้งแรกในปี 2009 โดยทางการอิหร่าน
ตั้งเป้าหมายที่จะสร้างดาวเทียมขนาดใหญ่กว่านี้ให้ได้ และจะส่งคนขึ้นสู่อวกาศ
ภายในปี 2019 ให้ได้

 

 

ที่มาบล๊อคผมเองที่ Bloggang

http://thepumpkininter.bloggang.com





ความคิดเห็นที่ 1


จริง ๆ อิหร่านก้ทำคล้าย ๆ กับอินโดครับที่ส่งดาวเทียมขนาดเล็ก(อินโดกำลังศึกษา)

แต่อิหร่านมีประสบการณ์กับขีปนาวุธขนาดใหญ่มากกว่าอินโด เลยประสบความสำเร็จก่อน

 

ทดสอบจรวด LAPAN เมื่อปี 2009

 

 

 

ขีปนาวุธ Rudal ทดสอบในปี 2010 (ในโครงการ LAPAN เหมือนกัน)

โดยคุณ Banyat เมื่อวันที่ 16/06/2011 04:22:17


ความคิดเห็นที่ 2


อเมริกาจะว่อย่างไรก็ช่างคบ  อิหร่าน เกาหลีเหนือ ไว้บ้างก็ไม่เสียหลาย

 

โดยคุณ Panya เมื่อวันที่ 16/06/2011 06:07:33


ความคิดเห็นที่ 3


มันคบไม่ได้ซิครับ ถ้าคบ เราก็โดนเหมือนที่ อิหร่าน เกาหลีเหนือ โดนนะซิครับ

ไม่ใช่ไม่อยากให้คบนะครับ เพราะพวกอาวุธ ของเกาหลีเหนือ อิหร่าน โดยเฉพาะ พวกเรือดำน้ำขนาดเล็ก และจรวดแบบต่างๆน่าสนใจดีครับ

ประเทศที่ต้องจับตาดูให้ดีๆคือพม่าครับ เพราะได้รับเทคโนโลยี่หลายอย่างจากเกาหลีเหนือ

ทั้งหมดเป็นความเห็นส่วนตัวนะครับ

โดยคุณ pop04 เมื่อวันที่ 16/06/2011 06:53:32


ความคิดเห็นที่ 4


ถ้าเริ่มวันนี้ เราลองเอาตัวจรวดของ  DTI 1  มาดัดแปลง

อีก30ปีเราอาจได้ขีปนาวุธ(ไม่แน่ใจเขียนถูกเปล่าครับ)

อีก 50 ปี เราอาจได้จรวดขนส่งก็ได้

ใครจะไปรู้ครับ

โดยคุณ bird เมื่อวันที่ 16/06/2011 07:22:20


ความคิดเห็นที่ 5


DTI-1 พัฒนาให้มันจริงจังเหอะ อย่าให้เหมือนหลายๆโครงการหละกัน พัฒนาไปได้ระดับหนึ่ง แล้วเก็บเข้ากรุ แบบว่า ซื้อเอาดีกว่าพัฒนาเอง

โดยคุณ seetha456 เมื่อวันที่ 16/06/2011 08:35:52


ความคิดเห็นที่ 6


ขนาดโดนคว่ำบาตรนะเนี่ย

โดยคุณ ลมหมุนวน เมื่อวันที่ 16/06/2011 09:27:56


ความคิดเห็นที่ 7


ดาวเทียมอ่ะ ไทยก็ทำได้ครับสบายๆ ที่ลาดกระบัง  แต่ จรวดส่งนี้ซิ ยังไม่มีประสบการ

โดยคุณ SeriesVll เมื่อวันที่ 16/06/2011 11:14:29


ความคิดเห็นที่ 8


อิหร่าน ส่งเสริมเยาวชนของชาติตัวเอง ให้เรียนด้านวิทยาศาสตร์+วิศวะ+เคมี และอะไรอีกมากมาย เกี่ยวกะพวกมันสมองสูงๆ อิหร่านจึงมีบุคคลากรพร้อม

และเยาวชนอิหร่าน ก็ชอบในด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ด้วย อิหร่านเป็นประเทศที่มีน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเยอะ จีน+รัสเซีย+อินเดีย ที่เป็นมหาอำนาจโตวันโตคืน ก็ต้องการพลังงานอย่างมาก ก็ต้องแห่เข้าไปติดต่อค้าขายกะอิหร่านอยู่ดี แม้จะโดนคว้ำบาตร

ประเทศที่หนาวๆ ร้อนๆ มากที่สุดคือ อิสราเอล

ผมชอบอิหร่าน กะ เกาหลีเหนือ ในด้านการพัฒนาอาวุธด้วยตัวเองนะ นับถือครับในการพึ่งพาตัวเองแบบนี้

โดยคุณ seetha456 เมื่อวันที่ 16/06/2011 15:11:30