หน้าแรก    ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบคำถาม    เข้าสู่ระบบ      


มาเลเซีย จะสร้างฐานทัพเรือ และค่ายนาวิกโยธิน ที่ Bintulu

โดยคุณ : juldas เมื่อวันที่ : 21/10/2013 17:15:15

จากที่ จีน ทำการซ้อมรบ ในบริเวณหมู่เกาะ สแปชรี่ย์ และเหตุการณ์ ของกลุ่มแบ่งแยกดินแดน ในรัฐซาบาร์ รวมถึงการรักษาผลประโยชน์ของแหล่งน้ำมัน มาเลเซีย จึงสร้างฐานทัพเรือที่ Bintulu และการ Redesign กองทัพนาวิกโยธิน

Malaysia to establish marine corps, naval base close to James Shoal

Dzirhan Mahadzir, Kuala Lumpur - IHS Jane's Defence Weekly

15 October 2013

Malaysia is to set up a marine corps and establish a naval base close to waters claimed by China, Defence Minister Hishammuddin Tun Hussein said in a statement on 10 October.

According to the statement, the Royal Malaysian Navy (RMN) base will be established at Bintulu on the South China Sea (SCS) to protect the surrounding area and oil reserves.

Unstated by the minister is the base's proximity to James Shoal, which is 60 n miles away and was the location for the People's Liberation Army Navy (PLAN) exercises on 26 March that were the most recent example of China asserting its claims to most of the SCS.

Hishammuddin's description of the marine force only states that it will be established for amphibious operations, drawn from all three services and essential for security in the East Malaysian state of Sabah, where Sulu militants staged an incursion in February that was subsequently repelled by a military operation.

The statement did not give any further details but IHS Jane's understands that the marine corps proposal was planned before the Sulu incursion but has since been prioritised.

While the marines will be drawn from all three services, the bulk is expected to be drawn from one of the three parachute battalions of the 10th Parachute brigade, which will be redesignated as a marine battalion.

The 9th Royal Malay Regiment (para) and 8th Royal Ranger Regiment (para) have both conducted amphibious warfare training as a secondary mission, most recently in June during the CARAT exercise with the US Marine Corps (USMC) and subsequently in an amphibious landing exercise with French troops and the landing platform dock FNS Tonnerre .

The marines will be drawn from existing personnel because of a government cap on the number of armed forces personnel allowed on active duty.

The Ministry of Defence is yet to decide whether marines will fall under Malaysian Army or Royal Malaysian Navy control. Initial plans call for the unit to be an independent force under the control of the Malaysian Joint Force Headquarters until operational experience determines which service is better suited.

Malaysia is keen to draw on the USMC's expertise and has been in discussions with the United States (US) over support, training and expertise exchange. Malaysia has been without an amphibious naval platform since the loss of Newport-class landing ship-tank KD Sri Inderapura in an October 2009 fire.

Plans to obtain an LPD, with France offering a downsized Mistral design and South Korea offering a downsized Dokdo design, have been stalled due to budgetary constraints. The US has offered the LPD USS Denver , scheduled to be decommissioned from US service in 2014, to Malaysia on a hot transfer along with some equipment, which likely includes AAV-7 amphibious vehicles.

The US would welcome Malaysia's establishment of a marine force as current Pentagon regulations restrict the USMC to conducting exchanges and training with marine units of non-US treaty ally nations - an exception being in the case of multiservice exercises such as CARAT. Likewise, Malaysia has been keen to further develop joint amphibious training exercises and exchanges with the US but has been hampered by the absence of a marine force.

Other than equipment for the marines, the US has offered Malaysia surplus equipment from operations in Afghanistan, including infantry weapons and sights, night-vision goggles and mine-resistant ambush protected vehicles.

The US is also offering the AH-1Z Super Cobra to meet Malaysia's requirement for an attack helicopter. While Boeing has been marketing the AH-64 Apache, the prospect of a purchase by Kuala Lumpur is unlikely due to Malaysia's disinclination to buy key military equipment in service with its neighbours: the Apache is in service with Singapore and on order by Indonesia.

France has been marketing the Eurocopter EC 665 Tiger for the same requirement and hopes to leverage the French Army's long-time assistance in training the Malaysian Army Air Corps.

Hishammuddin's announcement of a new naval base at Bintulu follows a number of unpublicised incursions by Chinese naval and maritime surveillance forces into Malaysian waters off East Malaysia and the Malaysian portion of the Spratly Islands.

Unlike Vietnam or the Philippines, Malaysia does not make public such occurrences to avoid jeopardising its strong economic ties with China. China's activities in its near waters are of concern to Kuala Lumpur, however, which has stepped up naval patrols in the area.

The RMN is hampered by its small fleet and the need to maintain a strong naval presence off Sabah to discourage further intrusions by Sulu militants. In this light, another portion of Hishammuddin's statement - that the first in class of the Second Generation Patrol Vessel - Littoral Combat Ship (SGPV-LCS) programme will start operations in 2018, gains greater importance.

Six of the SGPV-LCS corvette-class ships, which are based on the DCNS Gowind corvette family, are to be built by Boustead Naval Shipyard. Construction is expected to begin in 2014.





ความคิดเห็นที่ 1


ในการปรับโครงสร้าง กองพันนาวิกโยธินของ มาเลเซีย จะได้รับการสนับสนุนจาก สหรัฐ

 


โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 19/10/2013 20:11:01


ความคิดเห็นที่ 2


สหรัฐให้การสนับสนุน เรือ LPD ที่จะปลดระวางในปีหน้า คือ ปี 2014 ได้แก่ USS Denver ถ้ามาเลเซียมีความต้องการ ก็จะทำการโอนเรือให้แบบ Hot Transfer เพื่อทดแทน เรือ LST KD Sri Inderapura  ที่ไฟไหม้เสียหายทั้งลำ เมื่อปีที่แล้ว ซึ่งการสนับสนุนเรือ LPD ลำนี้ น่าจะหมายรวมถึงการให้ AAV-7 มาพร้อมด้วย

USS Denver เคยเกิดอุบัติเหตุ ชน เรือด้วยกันเองมาก่อน

 

 

 





โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 19/10/2013 20:15:48


ความคิดเห็นที่ 3


สหรัฐ จะให้การสนับสนุน โดยการขาย AH-1Z Super Cobra ให้ด้วย ถ้ามาเลเซีย มีความต้องการสำหรับ สนับสนุน หน่วยนาวิกโยธินมาเลเซีย

ซึ่ง บริษัท โบอิ้ง ก็เสนอขาย AH-64D ให้มาเลเซีย แต่หลักการจัดหาอาวุธมาเลเซีย จะหลีกเลี่ยงการจัดหาระบบอาวุธที่เหมือนกับประเทศเพื่อนบ้าน คือ สิงคโปร์ และ อินโดนีเซีย...

อีกหนึ่งตัวเก็ง คือ EC-665 จาก ฝรั่งเศส

 




โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 19/10/2013 20:20:34


ความคิดเห็นที่ 4


มาเลเซีย มีความต้องการเรือ LPD ใหม่ จำนวน 3 ลำ

โดยมีผู้เสนอแบบ คือ จากฝรั่งเศส Mistral downsized และจาก เกาหลีใต้ คือ Dokdo downsized

Mistral downsized ก็น่าจะเป็นแบบ Mistral 140

ส่วน dokdo downsized ยังหารูปไม่เจอครับ...เลยนำรูปของเก่าที่ดัดแปลงรูปมาใช้แทนครับ

 



โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 19/10/2013 20:26:06


ความคิดเห็นที่ 5


ถ้าสุดท้าย มาเลเซีย เลือก LPD เป็น Mistral 140

และเลือก ฮ.โจมตี เป็น EC-665

กองทัพเรือ มาเลเซีย ก็เหมือนกับใช้ระบบอาวุธจาก ฝรั่งเศส ทั้งหมด

LCS = Gowind Class

LPD = Mistral 140

Attack Helicopter = EC-665

Helicopter = EC-725

Submarine = Scorpine Class

ซึ่งถ้าผลเป็นไปตามข้างบน ก็อาจจะเชื่อมโยงไปถึง กองทัพอากาศมาเลเซีย

ที่ฝูงบินใหม่ อาจจะเป็น Rafale ม้ามืดมาก็ได้...

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 19/10/2013 20:37:46


ความคิดเห็นที่ 6


เห็นเค้าจัดหาเรือLPD กัน ผมก็นึก ถึงเรือหลวงอ่างทอง ทันที เมื่อไหร่ลำที่2 จะเริ่ม   ผมกลัวเรือหลวงอ่างทอง จะเหมือนกันเรือชุดสีชัง ที่เห็นเค้าบอกว่าใช้งานจนแบบ พังทั้งระบบ

โดยคุณ kok129 เมื่อวันที่ 19/10/2013 22:16:17


ความคิดเห็นที่ 7


คงมาแน่ครับ...น่าจะอยู่ในแผน 10 ปี ชุดใหม่ ที่กำลังจะเกิดขึ้น...

ซึ่งผมว่า คงไม่ใช่ แค่เพิ่มอีก 1 ลำ...อาจจะเพิ่ม ถึง 3 ลำ....

ดูเหมือน ทร. คงจะเริ่มนโยบาย การจัดกำลังให้พร้อมรบ คือ  3 ลำ...

ซึ่งดูเหมือนจะเริ่มกับ เรือฟริเกตสมรรถนะสูง เป็นแบบแรก...

ขนาด เรือดำน้ำ ตามแผนยังกำหนดไว้ที่ 3 ลำ เช่นกันครับ...

ซึ่ง ถ้า ทร.จัดหาเพิ่มอีก 3 ลำ...กองเรือยุทธบริการ จะมีเรือขนาด LST จำนวน 6 ลำ คือ

LST ชั้น สีชัง จำนวน 2 ลำ

LST ชั้น อ่างทอง 3 จำนวน 1 ลำ

LST ตามแผนใหม่ (ความเห็นส่วนตัว) จำนวน 3 ลำ

รวมทั้งหมด 6 ลำ...

พร้อมรบในที่ตั้ง/ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จำนวน 2 ลำ

ฝึก/สนับสนุนการฝึกพร้อมรบประจำปี/ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จำนวน 2 ลำ

ซ่อมบำรุง จำนวน 2 ลำ

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 20/10/2013 08:00:40


ความคิดเห็นที่ 8


    เผอิญเก็บรูปจากเน็ตเอาไว้ครับป๋าจูล

แต่การที่เราจัดหาเรือจากเกาหลี  และทางเขาจัดหาเรือคอร์เวตจากฝรั่งเศส   ก็เพิ่มความเป็นไปได้ว่าเขาจะจัดหาเรือจากฝรั่งเศสมากขึ้นครับ     ยิ่งถ้าทร.เกิดจัดหา AH-1Z  ขึ้นมาจริงๆ    คงยิ่งเพิ่มความน่าจะเป็นเข้าไปอีก



โดยคุณ neosiamese2 เมื่อวันที่ 21/10/2013 11:31:23


ความคิดเห็นที่ 9


ท่าน neosiamese2 ครับ...ตามรูป น่าจะเป็น Dokdo แบบเรือบรรทุกเครื่องบิน นะครับ...ไม่น่าจะใช่ Downsized...ตามรูปจะระวางประมาณ 28,000 ตัน

http://blog.daum.net/jianke/8637606

ตามแบบ Downsized น่าจะมี ดาดฟ้า รองรับ ฮ. ได้สูงสุด ประมาณ 4 เครื่อง ครับ...ระวางน่าจะใกล้เคียงกับ Mistral 140 ครับ...น่าจะประมาณ 14,000 ตัน

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 21/10/2013 13:42:27


ความคิดเห็นที่ 10


ไม่แน่ อาจจะใช้แบบ LST-II ก็ได้ครับ...น่าสนใจดีเหมือนกัน

a0105007_4cbf861509131.jpg

a0105007_519ee555d189d.jpg

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 21/10/2013 15:01:50


ความคิดเห็นที่ 11


  เป็นภาพชุดเดียวกับที่ท่าน juldas ลงไว้ครับ    แต่เห็นว่าภาพแปลนเรือนั้นท่าน juldas ลงไว้แล้วก็เลยไม่ลงซ้ำครับ    กำลังหาเวปที่ผมไปโหลดมาอยู่เพราะนานมากแล้วครับเพราะทางนั้นเขียนบอกเองว่าเป็น mini DOKDO

   ดูจากแปลนเรือที่ท่าน juldas ลงไว้เองนั้น   จะเห็นว่าลิฟท์ของเรือทั้งสองตัวจะอยู่ด้านข้างและเปิดออกภายนอก   ซึ่งก็ตรงกับภาพโมเดลครับ    ในขณะที่ DOKDO class  จะเป็นลิฟท์ที่ไม่เปิดออกด้านข้างครับจะอยู่ภายในลำตัวเรือ   

   และแลมป์ท้ายเพื่อปล่อยยานก็ตรงกัน

   ระบบเรด้าร์และระบบจรวด RAM block-2  ก็แจ้งตำแหน่งตรงกันครับ   แต่แบบเรือและภาพแปลนเรือเองก็ดูไม่ค่อยมีสัดส่วนที่ถูกต้องครับ

   ส่วนภาพเรือบรรทุกบ.ที่เป็นการขยายแบบจากเรือชั้น DOKDO  จะมีขนาดใหญ่กว่านี้มากครับ   รูปผมเก็บเอาไว้ในเครื่องที่บ้าน  คงต้องรอกลับบ้านแล้วไปเอาภาพมาลงให้ครับ

โดยคุณ neosiamese2 เมื่อวันที่ 21/10/2013 16:10:51


ความคิดเห็นที่ 12


อเมริกาให้การสนับสนุนมาเลเซียซะขนาดนี้...ผมว่าต้องมีผลประโยชน์อะไรแอบแฝงแน่

อย่างน้อยก็น่าจะยืมมือให้มาเลเซียกับฟิลิปปินส์(หรืออีกนัยคือใช้มาเลเซียกับฟิลิปปินส์เป็นเครื่องมือ)

เป็นตัวคอยสกัดกั้นการแผ่ขยายอำนาจทางทะเลของจีนในภูมิภาคนี้...ซึ่งก่อนหน้านี้ไม่นานอเมริกา

ก็เพิ่งจะสนับสนุนเรือยามฝั่งขนาดน้องๆฟริเกตให้ฟิลิปปินส์

เพราะอเมริกาช่วงนี้ก็ถังแตก...หากจะเอากองเรือของตัวเองรอนแรมออกทะเลมาลอยลำข่มกองเรือจีน

คงจะเปลืองงบไม่ใช่น้อย....สู้เอาเรือที่ตัวเองไม่ใช้งานแล้วส่งให้มาเลฯกับฟิลิปปินส์ใช้งานยังจะคุ้มกว่า

เพราะไม่ต้องส่งกองเรือมาเองให้เปลืองงบ , ได้มาเลย์ฯกับฟิลิปปินส์มาช่วยยันกองเรือจีนให้ ,แถมยังได้ใจมาเลฯกับฟิลิปปินส์อีก

 

โดยคุณ A_hatyai เมื่อวันที่ 21/10/2013 16:13:18


ความคิดเห็นที่ 13


เอ...ในเว๊ป เขาชี้ลูกศรไปที่เรือนะครับ ระวางจะ 28,000 ตัน (ภาษาเกาหลี จะใช้เลข 2 แล้วขั้นด้วยตัวอักษร แล้วต่อด้วย 8,000 ครับ) จะหนักกว่า Dokdo ครับ...แล้วภาพล่าง ๆ ลงมา จะเป็นแนวการบรรจุ F-35B ครับ...ส่วนภาพนั้น ผมทำการตัดต่อเองครับ...เอาลำตัวออกส่วนหนึ่ง แล้วทำการ ลบ สกีจัพท์ ออกครับ...

โดยคุณ juldas เมื่อวันที่ 21/10/2013 16:48:18


ความคิดเห็นที่ 14


  ภาพของ KCV-X ขยายแบบจาก Dokdo  ครับ    จะเห็นว่าด้านท้ายไม่มีแลมป์ท้ายปล่อยยานสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบกครับ  


โดยคุณ neosiamese2 เมื่อวันที่ 21/10/2013 17:15:15